top of page
Ludwig van Beethoven
 
 
เกิดเมื่อ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1770 – 26 มีนาคม ค.ศ. 1827 เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวเยอรมัน 
เขาเกิดที่เมืองบอนน์ประเทศเยอรมนีเบโธเฟนเป็นตัวอย่างของศิลปินยุคจินตนิยมผู้โดดเดี่ยว และไม่เป็นที่เข้าใจของบุคคลในยุคเดียวกันกับเขาในวันนี้เขาได้กลายเป็นคีตกวีที่มีคนชื่นชมยกย่องและฟังเพลงของเขากันอย่างกว้างขวางมากที่สุดคนหนึ่ง
ตลอดชีวิตของเขามีอุปสรรคนานัปการที่ต้องฝ่าฟันทำให้เกิดความเครียดสะสมในใจเขา
ในรูปภาพต่างๆที่เป็นรูปเบโธเฟนสีหน้าของเขาหลายภาพแสดงออกถึงความเครียด
แต่ด้วยจิตใจที่แข็งแกร่งเขาก็สามารถเอาชนะอุปสรรคต่างๆในชีวิตได้ตำนานที่คงอยู่นิรันดร์เนื่องจากได้รับการยกย่องจากคีตกวีจินตนิยมทั้งหลายเบโธเฟนได้กลายเป็นแบบอย่างของพวกเขาเหล่านั้นด้วยความเป็นอัจฉริยะที่ไม่มีใครเทียมทานซิมโฟนีของเขา(โดยเฉพาะอย่างยิ่งซิมโฟนีหมายเลข 5 ซิมโฟนีหมายเลข 6 ซิมโฟนีหมายเลข 7 และซิมโฟนีหมายเลข 9) และคอนแชร์โตสำหรับเปียโนที่เขาประพันธ์ขึ้น
(โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอนแชร์โตหมายเลข 4 และหมายเลข 5)
เป็นผลงานที่ได้รับความนิยมมากที่สุดแต่ก็มิได้รวมเอาความเป็นอัจฉริยะทั้งหมด
ของคีตกวีไว้ในนั้น

Inspiration

 บทเพลงนี้ Beethoven ได้แต่งขึ้นและอุทิศให้อาจารย์ของเขา Antonio Salieri ถือว่าเป็นบุคคลสำคัญของ Beethoven อีกหนึ่งคนผลงานสำคัญของAntonio Salieri
เป็นนักแต่งเพลงโอเปร่าคลาสสิค ชาวอิตาลี่อยู่ในช่วงปลาย ศตวรรษที่ 18 และเขานั้นมีอิทธิพลมาก ต่อผู้แต่งเพลงที่อยู่ร่วมในสมัยนั้น เขาได่รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการของโรงโอเปร่าที่ปารีสและเวียนิสและผลงานของเขานั้นได้เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในทางด้านยุโรป ในยุคนั้นเขาได้รับการยกย่องว่าเป็น ครู ที่มีความสำคัญต่อดนตรีเป็นอย่างมากและเป็นที่ต้องการทางด้านดนตรีเป็นอย่างมาก เขาได้มีลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงมากมาย เช่น Franz Schubert , Ludwig van Beethoven และ Mozart เป็นต้น
ด้วยความเก่งของ Antoni Salieri จึงทำให้ Beethoven นั้นประทับใจในฝีมือ แนวคิดเป็นอย่างมาก Beethoven เขาจึงความประสงค์ที่จะแต่งเพลงและอุทิศให้กับอาจารย์ของเขา
เนื่องด้วยBeethoven อยู่ในช่วงยุคสมัยของปลายคลาสสิคต้นโรแมนการแต่งเพลงของเขา จึงมีแนวโน้มในสไตล์ของคลาสสิคอยู่ แต่ก็ไม่ได้คลาสสิคเลยทั้งหมด จึงมีการผสมผสานการแต่งเพลงของเขา และส่วนตัวของ Beetoven ซึมซับอิทธิพลของ Mozart และ Haydn สไตล์เพลงของเขาจึงเป็นที่น่าสนใจ
Beethoven พยายามสู้กับปัญหาที่เขาต้องเจอเนื่องด้วยตัวเขาเองเดิมเป็ยนักเปียโน
มันจึงเป็นความท้าทายเป็นอย่างมากกับหัวข้อ violin Sonata เขาต้องการให้ทั้งสองเครื่องมือ
ที่แต่งขึ้นเป็นผลงานที่ดีเท่าเทียมกันถึงแม้ว่าเขาจะเป็นนักเปียโนมาก่อนก็ตาม.
Analyze Sonata Form.
Beethoven's Violin Sonata No. 1
l. Allegro con brio
ll. Tema con variazioni
lll. Rondo
 
 
I. Allegro con brio
Exposition Theme 1
79661601_2512700495637630_62798582267961
ทำนองที่ 1 ห้องที่ 1-45 เป็นการนำเสนอของบทเพลง หรือ
ช่วง Exposition
-โดยจะนำเสนอด้วยเขบ็ตสองชั้นและต่อด้วยโน้ตสะบัดของจังหวะเขบ็ตสองชั้น จะดูได้ง่ายว่าสไตล์นั้นยังมีความเป็นคลาสสิกอยู่

ทำนองหลักที่ 1 ของ Form Sonata และนำเสนออยู่ในคีย์ D Major.

Exposition Theme 2

79186830_596038584557425_688592444207398

ทำนองหลักที่ 2 ห้องที่ 46-101 โดยจะเป็นการเล่นทำนองหลักที่ต่างจากทำนองแรกมีลักษณะโน้ตและความหมายของโน้ตที่ต่างกัน

-ยังคงใช้โน้ตที่ไล่เป็นสเกลที่เกิดความเป็นคลาสสิกแต่ใส่เขาก็ใส่ทำนองที่ฟังแล้วรู้สึกว่าเป็นโรแมนติกเข้าไป

Development

80402097_455561381828203_713759777888403
ห้องที่ 102-137  เป็นช่วงที่นำเอาทำนองหลักของ Exposition นำมาพัฒนา
ให้เกิดรูปแบบโน้ตต่างๆเพื่อที่จะให้ นักแสดงเดี่ยวไวโอลินได้แสดงศักยภาพโดยที่เล่นเทคนิคต่าง ๆ
-ท่อนนี้เป็นที่แสดงถึงความโรแมนติกอย่างชัดเจน ด้วยมีการใช้ค่าโน้ตในจังหวะที่เล่นยาวขึ้นทำให้มีเวลาในการสั่นโน้ตมากขึ้นและไดนามิกที่เข้ามาดังเบาอย่างชัดเจน จึงทำให้ได้กลิ่นของสไตล์โรแมนติกมากขึ้น

Recapitulation

78854448_608309719937104_920135082470014

เป็นช่วงที่กลับมาแล้ว จะสังเกตุได้ง่ายๆจากคีย์ที่เปลี่ยนมาเป็นคีย์เดิมจากต้นเพลง หรือเปลี่ยนมาเป็นคีย์ D Major และดำเนินจนจบท่อน

 -สำหรับเป็นท่อนจบของเพลงทำนองที่ได้ยินก็จะฟังแล้วเป็นในรูปแบบที่มีสไตล์ความเป็นคลาสสิกในรูปแบบของโน้ตในอัตราจังหวะที่เป็นเขบ็ตสองชั้นที่ไล่เรียงกันเป็นสเกลและมีสไตล์ของความเป็นโรแมนติกที่อยู่ในลักษณะโน้ตที่มีการใช้โน้ตตัวขาวในอารมณ์ที่อ่อนหวาน และการใช้คอร์ดเพื่อเป็นการจบบทเพลง

ll. Tema con variazioni

78892901_456936641679765_889568644614953
78939585_425231485023921_868175371711388
Beethoven violin Sonata no.1
l.Allegro con brio
lll.Rondo
bottom of page